นานาชาติ ของ ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

  • สหประชาชาติ - โคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติระบุว่า ไม่สนับสนุนให้เกิดการรัฐประหาร และอยากให้กลับคืนสู่ระบบประชาธิปไตย อย่างรวดเร็วที่สุด[13]
  • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ กล่าวว่า การรัฐประหารเป็นการฝ่าฝืนข้อตกลงด้านสิทธิมนุษยชน และเร่งเร้าให้ทหาร"เคารพต่อสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐาน และจัดตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติขึ้นมาใหม่" [14][15] แม้ว่าคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจะยังคงมีอยู่ แต่พวกเขากลับสนุนรัฐประหาร [16][17]
  • สหภาพรัฐสภา (ไอพียู) - ไอพียูตัดสิทธิประเทศไทยออกจากการเป็นสมาชิกรัฐสภา หลังเกิดการรัฐประหาร ส่งผลให้ประเทศไทยถูกยกเลิกการเป็นเจ้าภาพการประชุมไอพียูครั้งที่ 11 ที่จะจัดในวันที่ 29 เมษายน - 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และให้อินโดนีเซียรับเป็นเจ้าภาพแทน อันมีเหตุผลสำคัญมาจากการที่สภานิติบัญญัติหลังการรัฐประหารไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง [18][19]

แหล่งที่มา

WikiPedia: ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 http://english.people.com.cn/200609/20/eng20060920... http://www.economist.com/opinion/displaystory.cfm?... http://www.khaleejtimes.com/DisplayArticleNew.asp?... http://www.naewna.com/news.asp?ID=28984 http://nationmultimedia.com/2006/09/22/national/na... http://nationmultimedia.com/2006/09/29/headlines/h... http://nationmultimedia.com/breakingnews/read.php?... http://www.nationmultimedia.com/2006/09/20/headlin... http://www.nytimes.com/2006/09/21/world/asia/21tha... http://today.reuters.com/news/articlenews.aspx?typ...